-
-
-
23 March 2566 8 Investments for Thai Population
-
-
ในหนึ่งวันคุณใช้เวลาไปกับอะไรบ้าง
ค่าเฉลี่ยจำนวนชั่วโมงการใช้เวลาหนึ่งวันของประชากรไทย
จำแนกตามมิติทางสุขภาวะ และกิจกรรมทางกาย ปี 2562














ค่าเฉลี่ยจำนวนชั่วโมงการใช้เวลาหนึ่งวันของประชากรไทย
จำแนกตามมิติทางสุขภาวะ และกิจกรรมทางกาย ปี 2562
ร้อยละการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชากรวัยสูงอายุ ระหว่างปี 2555-2563
การประเมินตนเองด้านกิจกรรมทางกาย และสุขภาวะประกอบด้วยการประเมิน 3 ส่วน ดังนี้
1) การประเมินด้านกิจกรรมทางกาย (Physical Activity; PA)
2) การประเมินพฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Behavior; SB)
3) การประเมินพฤติกรรมหน้าจอ (Screen Time; ST)
เข้าสู่แบบประเมินทางคณะทำงานใคร่ขอความอนุเคราะห์ท่านในการตอบข้อคำถามที่เกี่ยวข้องกับพฤติกกรรมด้านกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมทางสุขภาวะอื่น ๆ ทั้งนี้ สิทธิในการให้ข้อมูลขึ้นอยู่กับความสมัครใจของท่าน ข้อมูลทั้งหมดที่ท่านได้ตอบจะถูกเก็บรักษาเป็นความลับ และถูกใช้เพื่อการวิเคราะห์ผลในภาพรวม ไม่มีการระบุข้อมูลใด ๆ ที่เป็นการชี้เฉพาะถึงข้อมูลส่วนตัวของท่านทั้งสิ้น
หากท่านรับทราบข้อชี้แจง และยินดีที่จะให้ข้อมูล ขอให้ท่านกดยินยอมเพื่อเป็นการยืนยันการให้ข้อมูล
ชาย
หญิง
อายุเต็มปี (หากไม่ต้องการระบุให้กรอก "99")
คำว่า “กิจกรรมทางกาย” หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายในอิริยาบถต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการใช้พลังงานจากกล้ามเนื้อโครงร่าง หรือกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ช่วยให้ร่างกายมีการเผาผลาญพลังงาน โดยกิจกรรมทางกาย สามารถจำแนกเป็น 3 หมวดกิจกรรม ได้แก่
1. กิจกรรมทางกายในการทำงาน ที่ครอบคลุมถึงการทำงานต่าง ๆ ทั้งที่ได้รับหรือไม่ได้รับค่าจ้าง การศึกษา/ฝึก อบรม งานบ้าน/กิจกรรมในครัวเรือน การทำงานเกษตรกรรม การเพาะปลูก และเก็บเกี่ยว หรือการประมง เป็นต้น
2. กิจกรรมทางกายในการเดินทาง จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ด้วยการเดิน หรือ ปั่นจักรยานเพื่อการสัญจร เช่น การเดินทาง ไปทำงาน การเดินทางเพื่อไปจับจ่ายใช้สอย/ซื้อเครื่องใช้ต่าง ๆ ไปตลาด ไปทำบุญ หรือไป ศาสนสถาน เป็นต้น
3. กิจกรรมทางกายเพื่อนันทนาการ เช่น การออกกำลังกายและเล่นกีฬาประเภทต่าง ๆ การเล่นฟิตเนส การเต้นรำและกิจกรรมนันทนาการ/กิจกรรมยามว่างเพื่อความผ่อนคลายที่ปฏิบัติในเวลาว่างจากการทำงาน
พฤติกรรมเนือยนิ่ง คือ การนั่ง หรือการเอนกายรวมถึงพฤติกรรมที่เป็นการเคลื่อนไหวน้อย ทั้งที่ปฏิบัติที่บ้าน ที่ทำงาน หรือสถานที่ต่าง ๆ เช่น การนั่งพูดคุยกับเพื่อน การเดินทางอยู่ในรถยนต์ รถโดยสารสาธารณะ รถไฟ รถไฟฟ้า/รถไฟใต้ดิน เครื่องบิน การอ่านหนังสือ ดูโทรทัศน์ นั่งเล่นคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะไม่รวมถึงกำรนอนหลับพักผ่อน
กิจกรรมจากการทำงาน
(Work-Related)
จำนวนวันที่ท่านปฏิบัติกิจกรรมทางกายในหมวดของการทำงาน ใน 1 สัปดาห์
(หากไม่ต้องการระบุให้เลื่อนไป "0")
วัน
จำนวนนาทีโดยเฉลี่ยต่อวันที่ท่านปฏิบัติกิจกรรมทางกายในหมวดของการทำงาน
ชั่วโมง
นาที
กิจกรรมจากการเดิน/ปั่นจักรยาน
เพื่อสัญจร(Transportation)
จำนวนวันที่ท่านปฏิบัติกิจกรรมทางกายในหมวดของการเดินทางสัญจรด้วยเท้า/ปั่นจักรยาน ใน 1 สัปดาห์
(หากไม่ต้องการระบุให้เลื่อนไป "0")
วัน
จำนวนนาทีโดยเฉลี่ยต่อวันที่ท่านปฏิบัติกิจกรรมทางกายในหมวดของการเดินทางสัญจรด้วยเท้า/ปั่น
ชั่วโมง
นาที
กิจกรรมจากการนันทนาการ/ออกกำลังกาย (Recreation)
จำนวนวันที่ท่านปฏิบัติกิจกรรมทางกายในหมวดของกิจกรรมนัทนาการ/ออกกำลังกาย ใน 1 สัปดาห์
(หากไม่ต้องการระบุให้เลื่อนไป "0")
วัน
จำนวนนาทีโดยเฉลี่ยต่อวันที่ท่านปฏิบัติกิจกรรมทางกายในหมวดของกิจกรรมนันทนาการ/ออกกำลังกาย
ชั่วโมง
นาที
พฤติกรรมเนือยนิ่ง
โดยปกติ ใน 1 วัน
ท่านนั่งหรือเอนกายหรือเคลื่อนไหวน้อย ๆซึ่งไม่รวมถึงการนอนหลับพักผ่อน โดยเฉลี่ยต่อวันที่ท่านปฏิบัติ
ชั่วโมง
นาที
พฤติกรรมหน้าจอ เพื่อความบันเทิง
ท่านใช้เวลาดูทีวี ใช้โทรศัพท์มือถือ เล่นคอมพิวเตอร์เพื่อความบันเทิง โดยเฉลี่ยต่อวันที่ท่านปฏิบัติ
ชั่วโมง
นาที
พฤติกรรมหน้าจอ เพื่อทำงาน หรือการเรียนรู้
ท่านใช้คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หน้าจอต่างๆ เพื่อทำงาน หรือการเรียนรู้ โดยเฉลี่ยต่อวันที่ท่านปฏิบัติ
ชั่วโมง
นาที
พฤติกรรมหน้าจอ เพื่อความบันเทิง
ท่านใช้คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หน้าจอต่างๆ เพื่อทำงาน หรือการเรียนรู้ โดยเฉลี่ยต่อวันที่ท่านปฏิบัติ
ชั่วโมง
นาที
การประเมินการมีกิจกรรมทางกาย (Physical Activity: PA)
ผลรวมกิจกรรมทางกายทุกหมวดต่อสัปดาห์อยู่ระหว่าง 150-300 นาที สำหรับผู้ใหญ่
หมายถึง มีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามคำแนะนำของ องค์การอนามัยโลก ซึ่งจะส่งผลดีโดยตรงต่อการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) แต่อาจจะไม่สามารถลดน้ำหนักตัว หรือสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้อาจพิจารณาจำนวนนาทีรวมของหมวดที่ 3) กิจกรรมนันทนาการ/การออกกำลังกาย หากน้อยกว่า 90 นาที แนะนำให้เพิ่มกิจกรรมในหมวดนี้ โดยเลือกกิจกรรมที่ช่วยเพิ่มความแข็งแรงและยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อให้มากขึ้น
ชุดข้อมูลทางสถิติที่สำคัญ เช่น สถานการณ์ด้านกิจกรรมทางกาย พฤติกรรมเนือยนิ่ง และข้อมูลประเด็นพฤติกรรมสุขภาวะอื่น ๆ ที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้บริการข้อมูลสามารถเรียกดูข้อมูลสถิติ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยแสดงผลในรูปแบบ Dashboard by Project
ผู้ใช้บริการสามารถเลือกการแสดงผลข้อมูลสถิติด้วยตนเอง เช่น เลือกเงื่อนไขการแสดงข้อมูล
(ปีข้อมูล หรือรายการข้อมูลย่อย) จัดเรียงลำดับข้อมูล ฯลฯ โดยสามารถบันทึก Dashboard/Output และสามารถขอใช้ข้อมูลและดาวน์โหลดข้อมูลดิบ (Raw Data) เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ